หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2556

History

เรียนรู้วัฒนธรรมของคนหูหนวก

ภาษามือไทย

ไวยากรณ์
ท่ามือ
ตำแหน่ง
การเคลื่อนไหว
การพลิกนันฝ่ามือ
การใช้สีหน้า
ทักษะในภาษามือไทย

ประวัติความเป็นของภาษามือไทย



ภาษาที่ไม่สามารถจัดได้อย่างแน่นอนลงไปในกลุ่มภาษาใด ๆ เรียกว่า ภาษาโดดเดี่ยว (language isolate)คือ   ภาษามือ   มีดังนี้
ภาษามืออเมริกัน (American Sign Language, ASL)
ภาษามือออสลาน (Auslan) ใช้ในประเทศออสเตรเลีย
ภาษามืออังกฤษ (British Sign Language, BSL)
ภาษามือดัตช์ (Dutch Sign Language, NGT)
ภาษามือควีเบก (Quebec Sign Language, LSQ)
ภาษามือฝรั่งเศส (French Sign Language, LSF)
ภาษามือเฟลมิช (Flemish Sign Language Vlaamse Gebarentaal, VGT)
ภาษามือเยอรมัน (German Sign Language, Deutsche Gebrdensprache, DGS)
ภาษามือเยอรมัน-สวิส (German-Swiss Sign Language, Deutschschweizer Geb?rdensprache, DSGS)
ภาษามือไอริช (Irish Sign Language. ISL)
ภาษามือนิคารากัว (Nicaraguan Sign Language, LSN)
ภาษามือไต้หวัน (Taiwanese Sign Language, TSL)
ภาษามือสากล (World Sign Language) > มาตารฐาน > ภาษามือนานาชาติ (International Sign Language)



    การสะกดนิ้วมือไทย คือการใช้นิ้วมือทำท่าภาษามือแทนตัวอักษร สระ วรรณยุกต์ในภาษาไทย รวมทั้งตัวเลขเพื่อสะกดเป็นคำที่มีความหมายต่างๆ

     ภาษามือไทย (Thai Sign Language,TSL)
    การสะกดนิ้วมือไทยสำหรับคนหูหนวกนี้ ผู้คิดค้นดัดแปลงจากตัวสะกดนิ้วมืออเมริกันมาเป็นตัวสะกดนิ้วมือไทยสำเร็จคนแรกเมื่อปี พ.ศ. 2499 คือ คุณหญิงกมลา ไกรฤกษ์ อ.บ. , ป.ม., M.A., อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสอนคนหูหนวก (โรงเรียนเศรษฐเสถียรในขณะนี้) ซึ่งสำเร็จวิชาการสอนคนหูหนวก จากมหาวิทยาลัยกาเลาเด็ท กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา 

   การสะกดนิ้วมือชุดนี้ เกิดขึ้นจากคณะศิษย์เก่าโรงเรียนสอนคนหูหนวกกลุ่มหนึ่ง ได้พยายามปรับปรุงให้สมบุรณ์ยิ่งขึ้นเพื่อครู – นักเรียนหูหนวก และบุคคลหูปรกติสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดยมีมูลนิธิอนุเคราะห์คนหูหนวกในพระบรมราชินูปถัมภ์ สนับสนุนด้านวิชาการและทุนในการจัดพิมพ์


สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์
ผลงานนี้ ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ต้นฉบับ.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น